ห้องวัฒนธรรมเครื่องโลหะและโลหัช

          ห้องวัฒนธรรมเครื่องโลหะและโลหัช จัดแสดงเรื่องราวของวัฒนธรรมการใช้เครื่องโลหะในภาคใต้ จากเครื่องมือเครื่องใช้ที่พบในแหล่งโบราณคดีในภาคใต้บ่งว่า เครื่องโลหะสมัยก่อนประวัติศาสตร์เทส่วนมากแสดงถึงการติดต่อรับ วัฒนธรรมชุมชนภายนอก ส่วนสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์  จากผลการวิเคราะห์ส่วนประกอบเครื่องมือเครื่องใช้สำริดที่พบในแหล่งโบราณคดียุคนี้ผสานกับหลักฐานสภาพธรณีสัณฐาน  ได้แก่  แหล่งแร่ธาตุสำคัญในภาคใต้ ตลอดจนการพบก้อนสินแร่ดีบุก ตะกั่ว สันนิษฐานได้ว่า คนในชุมชนสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในภาคใต้มีความสามารถในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ขึ้นในชุมชน  และยังพัฒนาไปสู่การทำเครื่องมือโลหะอื่นๆ เช่น เหล็ก ตะกั่ว อย่างแพร่หลายแนวความคิดในการจัดแสดงต้องการสื่อให้เห็นว่า ชาวใต้มีทั้งการรับเครื่องโลหะจากชุมชนภายนอก และนำวัตถุดิบมาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงรูปแบบตามวัฒนธรรมตนเองและวัฒนธรรมแห่งชาติอันมีอิทธิพลทางศาสนา  สภาพภูมิประเทศและขนบนิยมในการใช้สอย ข้อจำกัดและปัจจัยอื่นๆ เป็นการกำหนดลักษณะร่วม จากการอนุรักษ์พบว่าในตู้จัดแสดงกลองมโหระทึกที่มีชิ้นส่วนที่มาจากต่างแหล่ง  หากไม่ให้ข้อมูลอาจทำให้ผู้ชมเข้าใจผิด

            The room of metalware displays the culture of metalware in the South. From tools and utensils found from southern archaeological sites, it indicated that the metalwares of prehistoric period signified to the connection with other communities. During early historic period, it could be summarized from the discovery of metalwares that the people in those days were of ability of making metal tools and equipments. The exhibition in this room is provided to show that some metalwares were taken from other communities while some metalwares were produced by themselves in suitable to their culture and actual use. The Kettledrum in the window display has a component from other community. Without providing correct information may make viewers misunderstanding.

          ตู้จัดแสดงเครื่องทองเหลืองในวัฒนธรรมโภชนาการ มีภาพประกอบ การทำเส้นขนมจีน ข้อมูลการทำขนมจีน ในตู้นี้สามารถบอกให้ผู้ชมทราบขั้นตอนต่างๆ ในการทำกระบอกขนมจีนทองเหลือง  เมื่อครั้งในหลวงเสด็จนั้น พระองค์มีรับสั่งให้นำเทคโนโลยีชาวบ้านที่เป็นเครื่องมือทุ่นแรงมาเผยแพร่เพิ่มขึ้น

       The display window of betel box of both silverware and brassware features the culture of chewing betel, welcoming guests, and in some functions such as procession of groom’s parents, engagement and wedding, and legal expression. The display window exhibits nielloware and some samples objects of Nakhon Si Thammarat Nielloware.

          ตู้จัดแสดงเชี่ยนหมากทั้งเครื่องทองเหลืองและเงิน ชาวใต้ใช้เครื่องเชี่ยนเกือบทุกพื้นที่ การจัดแสดงส่วนนี้ต้องการให้ผู้ชมรู้จักวัฒนธรรมการกินหมาก การรับรองแขกเหรื่อ และการใช้ในพีกรรม เช่น การยกขันหมากสู่ขอ การหมั้นและการแต่งงาน หรือการใช้ในนิติกรรมการแสดง ตู้จัดแสดงในการทำเครื่องถม และตัวอย่างเครื่องถมแต่ละขั้นตอน เพื่อให้เห็นความสวยงามของเครื่องถมเมืองนครศรีธรรมราช

         Brass tools and utensils were quite popular in the South. Mostly are used in middle class to upper class in those 60 - 150 years ago. Main source of production were in Pattani, Narathiwat, and Nakhon Si Thammarat. Silverware and goldware were popular among richer men and high class people or on making merit as a donation to Buddha. The display in each window also signified to development of tools and utensils.